องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง

องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง 2023-04-21

การวิเคราะห์ความเสี่ยงของ PM2.5 และ PM10 กรณีศึกษาเมืองขอนแก่น

ผู้แต่ง : จุรีมาศ พรโสภณิ ปิยภทัร บุษบาบดินทร์ ทศพล ภูผวฟ้า มนชยา เจียงประดิษฐ และพรรณรัตน์ ก้วยเจริญพานิชก์

วันที่เอกสารถูกเผยแพร่ครั้งแรก | 2023-04-21

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อหาความสัมพันธ์ของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5ไมครอน (PM2.5) และฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน (PM10) กับตัวแปรต่าง ๆ เพื่อหาแบบจำลองและการแจกแจงที่เหมาะสม สำหรับ PM2.5 และ PM10 บนตัวแปรร่วม และประเมินความเสี่ยงของการเกิดมลพิษทางอากาศด้วยทฤษฎีค่าสุดขีด กรณีศึกษาเมืองขอนแก่น ผลการวิจัยพบว่า ตัวแปรที่ส่งผลต่อ PM2.5คือ PM10 NO2 CO และ O3 ส่วนตัวแปรที่ส่งผลต่อ PM10คือPM2.5 NO2 และ O3 เมื่อใช้การแจกแจงค่าสุดขีดนัยทวั่ ไปในการวิเคราะห์ข้อมูลสุดขีดรายเดือน พบว่าสำหรับข้อมูลของ PM2.5 บนตัวแปรร่วม ได้แบบจำลองที่เหมาะสมคือ X GEV( mu(x),sigma,xi) เมื่อ mu(x)= -7.01+0.31(PM10)+0.21(NO2)+9.16(CO)+0.22 (O3), sigma =18.24 และ xi = −0.11 ซึ่งมีการแจกแจงไวบูล สำหรับข้อมูลของ PM10 บนตัวแปรร่วม ได้แบบจำลองที่เหมาะสมคือ X GEV(mu(x), sigma,xi) เมื่อ mu(x) = -13.37+0.75(PM2.5)+0.27(NO2)+ 0.42(O3), sigma = 24.57 และ xi = 0.07 ซึ่งมีการแจกแจงกัมเบลและเมื่อใช้การ แจกแจงพาเรโตนัยทั่วไปวิเคราะห์ข้อมูลสุดขีดรายวัน พบว่าส าหรับข้อมูลของ PM2.5 บนตัวแปรร่วม ได้แบบจำาลองที่เหมาะสมคือ X GPD(sigma(x),xi) เมื่อ sigma(x) = 21.85+0.11(PM10)+0.31(NO2)-5.72(CO)-0.17(O3) และ xi =−0.31 ซึ่งมีการแจกแจงแกมมา สำหรับข้อมูลของ PM10 บนตัวแปรร่วม ได้แบบจำลองที่เหมาะสมคือ X GPD(sigma(x), xi) เมื่อ sigma(x) = 19.65+0.08(PM2.5)+0.08(NO2)+0.13(O3)และ xi

อ้างอิง : จุรีมาศ พรโสภณิ ปิยภทัร บุษบาบดินทร์ ทศพล ภูผวฟ้า มนชยา เจียงประดิษฐและพรรณรัตน์ ก้วยเจริญพานิชก์. (2564). การวิเคราะห์ความเสี่ยงของ PM2.5 และ PM10 กรณีศึกษาเมืองขอนแก่น. วารสารวิทยาศาสตร์ประยุกต์, 20 (2), 157-172.

หมายเหตุ :

Follow Us











© DUST INFORMATION. All Rights Reserved. Design by HTML Codex