การเตรียมพร้อมขององค์กรเพื่อการจัดการภัยพิบัติ

*
*
*
*
*
*
*
*
*

1. จัดตั้งโครงสร้างและการประสานงานที่ชัดเจน เพื่อให้ทุกฝ่ายเข้าใจบทบาทและความรับผิดชอบ

5  4 3  2  1
*
*
*
*

2. การจัดสรรทุนและสิ่งจูงใจให้เจ้าของบ้าน ครอบครัวรายได้ต่ำ และภาคเอกชนในการลงทุนเพื่อการลดความเสี่ยง

*
*
*
*
*
*

3. ปรับปรุงข้อมูลเรื่องภัยและความเสี่ยง รวมถึงความเปราะบางของชุมชน ให้ทันต่อเหตุการณ์ เสมอ และแบ่งปันผลการประเมินความเสี่ยง

*
*
*
*
*

4. ลงทุนสร้างและดูแลปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานที่ช่วยลดความเสี่ยง เช่น ระบบท่อระบายน้ำ

*
*
*

5. ประเมินความปลอดภัยของโรงเรียนและสถานบริการทางสาธารณสุข และปรับปรุงเมื่อจำเป็น

*
*
*
*

6. ใช้ระเบียบด้านการใช้ประโยชน์ที่ดินและระเบียบปฏิบัติด้านการดูแลอาคารเพื่อป้องกันความเสี่ยง รวมถึงมีการกำหนดพื้นที่ที่ปลอดภัยให้กับประชาชนที่มีรายได้ต่ำ รวมถึงมีการพัฒนาและยกระดับการตั้งถิ่นฐานที่ไม่เป็นทางการของชุมชน ตามที่สมควร

*
*

7. บรรจุโครงการด้านการศึกษาและฝึกอบรมเรื่องการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติในโรงเรียนและชุมชน

*
*
*
*

8. ปกป้องระบบนิเวศ และปราการธรรมชาติเพื่อบรรเทาภัยและรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก

*
*
*
*

9. วางระบบการเตือนภัยล่วงหน้าและเพิ่มขีดความสามารถในการบริการจัดการภาวะฉุกเฉิน

*
*
*
*
*
*
*
*
*
*

10. การสร้างชุมชนใหม่ต้องตั้งอยู่บนการมีส่วนร่วมและความต้องการชุมชนที่ได้รับผลกระทบ

*
*
*

ที่มา: สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย. 2559. แบบประเมินความพร้อมด้วยตนเองขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อการจัดการภัยพิบัติ กรณีศึกษา: เมืองอุดรธานี • เมืองเชียงราย • เมืองหาดใหญ่. พิมพ์ครั้งที่ 1. โครงการเครือข่ายเมืองในเอเชียเพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Asian Cities Climate Change Resilience Network: ACCCRN) โครงการเสริมสร้างการรับมือของเมืองกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Mekong-Building Climate Resilient Asian Cities: M-BRACE. สืบค้นเมื่อ 10 ตุลาคม 2565, จาก https://www.tei.or.th/thaicityclimate/public/work-9.pdf?fbclid=IwAR3neGnLNtXE6hE5f889yDXPludGHUuO6Y4mTgLX6MS-1B5AVxwT3yQ6l9k

Follow Us











© DUST INFORMATION. All Rights Reserved. Design by HTML Codex